ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะครูชำนาญการ คือ แก้ไขปัญหา การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ปัญหาด้านการอ่านออกเสียงคำของผู้เรียน ในรายวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2/2565 และ ภาคเรียนที่ 1/2566 ด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method)
1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้
จากการประชุมค้นหาปัญหา หาสาเหตุ และแนวทางพัฒนาผู้เรียนในกิจกรรม PLC ของผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จากผลการเรียนรู้ในรายวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1/2565 ที่ผ่านมา เมื่อพิจารณาข้อมูลผลการทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน และแบบทดสอบการอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษตามมาตรฐานตัวชี้วัด ต 1.1 ม 1/2 อ่านออกเสียงข้อความ นิทาน และบทร้อยกรอง (poem) สั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่านของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายนี้ พบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย มีความบกพร่องด้านการอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษ ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ซึ่งเกิดจากสาเหตุหลายประการ สาเหตุหลักที่สมาชิกในทีม PLC ได้ร่วมระดมความคิดเห็นและได้ลงข้อสรุปจากสมาชิกครูที่ร่วมกิจกรรมประชุมทีม PLC ว่าสาเหตุหลักที่ทำให้ผู้เรียนความบกพร่องด้านการอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษ คือ การขาดความรู้เรื่อง Basic Phonogram เสียงของตัวอักษร และทักษะในการผสมเสียงคำ และผู้เรียนไม่กล้าพูดออกเสียง ครูผู้สอนได้ร่วมระดมความคิดเห็นกับสมาชิกครูในทีม PLC และได้สรุปแนวทางพัฒนาปัญหาผู้เรียนโดยการปรับปรุงแก้ไขเทคนิคการสอนการอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษ และการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดทำชุดแบบฝึก และสื่อการเรียนรู้แบบมัลติมีเดีย นำมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามรูปแบบการสอนอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) และประยุกต์ใช้พัฒนาผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ในรายวิชาภาษาอังกฤษ ภาคเรียนที่ 2/2565 และภาคเรียนที่ 1/2566 ในปัญหาด้านการอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษให้มีพัฒนาการสูงขึ้น
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
3. ครูต้นแบบร่างแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ไขปัญหาผู้เรียนโดยใช้วิธีการแก้ไขปัญหาผู้เรียนตามแนวทางการสอนอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) รายวิชา ภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ My Home ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 และหน่วยการเรียนรู้เรื่อง English around me ในรายวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566
4.สมาชิกในทีม PLC ร่วมประชุมวิพากษ์แผนการจัดการเรียนรู้จากร่างแผนของครูต้นแบบเพื่อให้ได้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) ในแผนการจัดการเรียนรู้ก่อนนำไปใช้พัฒนาผู้เรียน
5.ครูต้นแบบปฏิบัติการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านประชุมวิพากษ์เพื่อพัฒนาปัญหาผู้เรียนและสมาชิกในทีม PLC ร่วมสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนในชั้นเรียน
6.สมาชิกในทีม PLC ร่วมประชุมสะท้อนผลการสังเกตการเรียนรู้ของผู้เรียนและเสนอแนวทางปรับปรุงแก้ไขแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาปัญหาผู้เรียนครั้งถัดไป
7.สมาชิกในทีม PLC ร่วมประชุมถอดบทเรียนและนวัตกรรมที่ใช้พัฒนาผู้เรียนในปัญหานี้
3.ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณมีทั้งหมด 2 ตัวชี้วัด ดังนี้
3.1.1 จำนวนผู้เรียนที่มีส่วนร่วมในเรียนด้วยการรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์การพัฒนา ผู้เรียนที่มีส่วนร่วมในการใช้ชุดกิจกรรม และแบบฝึกหัด สื่อบัตรคำศัพท์แบบอิเล็กทรอนิกส์ คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย 40 คน
3.1.2 จำนวนผู้เรียนที่มีการพัฒนาด้านการอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษสูงขึ้น จากการเรียนโดยการใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์การพัฒนา จำนวนผู้เรียนที่มีการพัฒนาด้านการอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษสูงขึ้น จากการเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 82.5 ของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย
3.1 เชิงปริมาณ
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณมีทั้งหมด 2 ตัวชี้วัด ดังนี้
3.1.1 จำนวนผู้เรียนที่มีส่วนร่วมในเรียนด้วยการรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์การพัฒนา ผู้เรียนที่มีส่วนร่วมในการใช้ชุดกิจกรรม และแบบฝึกหัด สื่อบัตรคำศัพท์แบบอิเล็กทรอนิกส์ คิดเป็นร้อยละ 100 ของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย 34 คน
3.1.2 จำนวนผู้เรียนที่มีการพัฒนาด้านการอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษสูงขึ้น จากการเรียนโดยการใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย
ผลลัพธ์การพัฒนา จำนวนผู้เรียนที่มีการพัฒนาด้านการอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษสูงขึ้น ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด จากการเรียนด้วยรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 79.4 ของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย
3.2 เชิงคุณภาพ
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพมีทั้งหมด 2 ตัวชี้วัด ดังนี้
3.2.1 ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) เพื่อแก้ปัญหาด้านการอ่านออกเสียงคำของผู้เรียน ที่ ค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 4.00 ของระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ
ผลลัพธ์การพัฒนา ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) เพื่อแก้ปัญหาด้านการอ่านออกเสียงคำของผู้เรียน การเรียนโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) ค่าเฉลี่ย 4.51 ของระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ
3.2 เชิงคุณภาพ
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพมีทั้งหมด 2 ตัวชี้วัด ดังนี้
3.2.1 ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) เพื่อแก้ปัญหาด้านการอ่านออกเสียงคำของผู้เรียน ที่ ค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 4.00 ของระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ
ผลลัพธ์การพัฒนา ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) เพื่อแก้ปัญหาด้านการอ่านออกเสียงคำของผู้เรียน การเรียนโดยใช้สื่อมัลติมีเดียร่วมกับแบบฝึกทักษะและกิจกรรมการเรียนรู้การอ่านออกเสียงคำภาษาอังกฤษแบบโฟนิกส์ (Phonics Method) ค่าเฉลี่ย 4.51 ของระดับความพึงพอใจ 5 ระดับ